ทะเบียนพรรณไม้
ทะเบียนพรรณไม้ ปีการศึกษา 2560 | ||||||
โรงเรียนศรีธาตุพิทยาคม อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี รหัสสมาชิก 7–41230–001 | ||||||
รหัสพรรณไม้ | ชื่อพื้นเมือง | ชื่อวิทยาศาสตร์ | ชื่อวงศ์ | ลักษณะวิสัย | ลักษณะเด่นของพืช | บริเวณที่พบ |
7–41230–001–001/4 | พิกุล กุน แก้ว ซางดง กุน (ภาคใต้); แก้ว (ร้อยเอ็ด ภาคเหนือ);พิกุล (ภาคกลาง);ซางดง (ลำปาง) | Mimusops elengi L. | SAPOTACEAE | ไม้ต้น | ดอกสีขาว น้ำตาลทอง มีกลิ่นหอม | พื้นที่ศึกษาที่ 1 สนามฟุตบอล |
7–41230–001–002/4 | ก้ามกราม, ก้ามกุ้ง, ก้ามปู, จามจุรี (ภาคกลาง); ฉำฉา ลัง, สารสา, สำสา(ภาคเหนือ); ตุ๊ดตู่ (ตาก); เส่คุ่, เส่ดู่ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) | Albizia saman (Jacq.) Merr. | FABACEAE | ไม้ต้น | เรือนยอดแผ่กว้าง ใบประกอบคู่บนขนาดใหญ่ ปลายมนมีติ่งแหลม ดอกกลางช่อไร้ก้านก้านชูเกสรเพศผู้และเพศเมียส่วนโคนมีสีขาวส่วนปลายสีชมพู | พื้นที่ศึกษาที่ 1 สนามฟุตบอล |
7–41230–001–003 | ปู (เขมร); โพ, โพศรีมหาโพธิ (ภาคกลาง); ย่อง (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน); สลี (ภาคเหนือ) |
Ficus religiosa L. |
MORACEAE | ไม้ต้น | ใบรูปไข่กว้างหรือรูปหัวใจ ดอกอยู่ภายในฐานดอกที่ขยายออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ตามซอกใบ | พื้นที่ศึกษาที่ 1 สนามฟุตบอล |
7–41230–001–004/19 | กะโน้ะ (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) ตีนเป็ด พญาสัตบรรณ (ภาคกลาง) หัสบรรณ (กาญจนบุรี) ยางขาว (ลำปาง),ตีนเป็ดดำ (นราธิวาส) บะซา ปูลา ปูแล (ปัตตานี ยะลา) | Alstonia scholaris (L.) R. Br. | APOCYNACEAE | ไม้ต้น | ใบ รูปรี รูปไข่กลับ หรือรูปใบพาย ช่อดอกแน่นเป็นกระจุก ดอกสีขาวมีกลิ่นแรง | พื้นที่ศึกษาที่ 1 สนามฟุตบอล |
7–41230–001–005/10 | กวาว ก๋าว (ภาคเหนือ); จอมทอง(ภาคใต้); จ้า (เขมร-สุรินทร์); จาน(อุบลราชธานี); ทองกวาวทองธรรมชาติ ทองพรมชาติ (ภาคกลาง) | Butea monosperma (Lam.)Taub. | FABACEAE | ไม้ต้น | ดอกช่อกระจะ ออกที่ซอกใบ ดอกสีแดงส้ม | พื้นที่ศึกษาที่ 1 สนามฟุตบอล |
7–41230–001–006/31 | สัก (ทั่วไป), เคาะเยียโอ (ละว้า-เชียงใหม่), ปายี้ (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี), ปีฮี ปีฮือ เป้อยี (กะเหรี่ยง- แม่ฮ่องสอน), เส่บายี้ (กะเหรี่ยง-กำแพงเพชร) | Tectona grandis L.f. | LAMIACEAE | ไม้ต้น | ลำต้นเปลาตรงเปลือกเรียบหรือแตกเป็นร่องเล็กๆ สีเทา โคนเป็นพูพอนต่ำ ๆ | พื้นที่ศึกษาที่ 1 สนามฟุตบอล |
ทะเบียนพรรณไม้ ปีการศึกษา 2560 | ||||||
โรงเรียนศรีธาตุพิทยาคม อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี รหัสสมาชิก 7–41230–001 | ||||||
รหัสพรรณไม้ | ชื่อพื้นเมือง | ชื่อวิทยาศาสตร์ | ชื่อวงศ์ | ลักษณะวิสัย | ลักษณะเด่นของพืช | บริเวณที่พบ |
7–41230–001–007/1 | อัญชัน (ภาคกลาง) | Clitoria ternatea L. | FABACEAE | ไม้เลื้อย | ใบประกอบขนนกชั้นเดียว ปลายคี่ ดอกสีม่วงแกมขาว ฝักรูปถั่ว | พื้นที่ศึกษาที่ 1 สนามฟุตบอล |
7–41230–001–008/7 | ลั่นทม ลีลาวดี ลั่นทมขาว (ทั่วไป) | Plumeria obtusa L. | APOCYNACEAE | ไม้ต้นขนาดเล็ก | ลำต้นสีเทาอวบน้ำ ใบหนาผิวใบมัน ดอกสีขาว มีสีเหลืองตรงกลาง มีกลิ่นหอม | พื้นที่ศึกษาที่ 1 สนามฟุตบอล |
7–41230–001–009/2 | ลิ้นมังกร | Sansevieria trifasciata | DRACAENACEAE | ไม้ล้มลุก | มีลำต้นใต้ดินแบบเหง้า ใบมีสีเขียวแกมขาว หรือ เขียวแกมเหลือง ใบรูปลิ่มแคบ ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบเรียบบ ดอกช่อแบบกระจะ | พื้นที่ศึกษาที่ 1 สนามฟุตบอล |
7–41230–001–010/8 | ดู่บ้าน (ภาคเหนือ) ประดู่กิ่งอ่อน ประดู่บ้าน ประดู่ลาย (ภาคกลาง) สะโน (มาเลย์ นราธิวาส) | Pterocarpus indicus Willd. | FABACEAE | ไม้ต้น | ลำต้นแตกเป็นร่อง ใบขนาดใหญ่ ดอกสีเหลือง ผลแห้งไม่แตกมีปีกรอบ | พื้นที่ศึกษาที่ 1 สนามฟุตบอล |
7–41230–001–011/4 |
ข่อยจีน ชาญวน (กรุงเทพ) ชา (เชียงใหม่) ชาญี่ปุ่น ชาฮกเกี้ยน (ภาคกลาง) |
Ehretia microphylla Lam. | BORAGINACEAE | ไม้พุ่ม | ใบหนา ขอบใบหยัก มีขน ดอกเดี่ยวสีขาว | พื้นที่ศึกษาที่ 1 สนามฟุตบอล |
7–41230–001–012/2 | เฟื่องฟ้า, ดอกกระดาษ ดอกโคม(ภาคเหนือ); ตรุษจีน, เฟื่องฟ้า (ภาคกลาง); ศรีราชา(กรุงเทพฯ) | Bougainvillea spectabilis Willd. | NYCTAGINACEAE | ไม้รอเลื้อย | ใบเปลี่ยนแปลงเป็นใบประดับเพื่อใช้ล่อแมลง | พื้นที่ศึกษาที่ 1 สนามฟุตบอล |
7–41230–001–013/3 | เข็มแดง | Ixora chinensis Lam. | RUBIACEAE | ไม้พุ่ม | ดอกช่อออกรวมกันเป็นช่อใหญ่ที่ปลายยอด หรือกิ่งข้างดอกย่อยสีแดง ปลายส่วนมากแยกเป็น 4 กลีบ | พื้นที่ศึกษาที่ 1 สนามฟุตบอล |
7–41230–001–014/5 | กาบหอย กาบหอยแครง ว่านหอยแครง (กรุงเทพฯ) | Tradescantia spathacea Sw. | COMMELINACEAE | ไม้ล้มลุก | แผ่นใบหนาด้านบน สีเขียวเข้มด้านล่างสีม่วงแดง ดอกช่อสีขาว | พื้นที่ศึกษาที่ 1 สนามฟุตบอล |
ทะเบียนพรรณไม้ ปีการศึกษา 2560 | ||||||
โรงเรียนศรีธาตุพิทยาคม อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี รหัสสมาชิก 7–41230–001 | ||||||
รหัสพรรณไม้ | ชื่อพื้นเมือง | ชื่อวิทยาศาสตร์ | ชื่อวงศ์ | ลักษณะวิสัย | ลักษณะเด่นของพืช | บริเวณที่พบ |
7–41230–001–015/4 | เครือออน (แพร่); เทียนหยด, พวงม่วง, ฟองสมุทร (กรุงเทพฯ); สาวบ่อลด (เชียงใหม่) | Duranta erecta L. | VERBENACEAE | ไม้พุ่ม | มีหนามตามซอกใบ ขอบใบจักฟันเลื่อยช่วงปลายใบ ดอกแบบช่อเชิงลดสีม่วงแกมขาว ออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง ห้อยลง | พื้นที่ศึกษาที่ 1 สนามฟุตบอล |
7–41230–001–016/15 | สนประดิพัทธ์ (กรุงเทพ) | Casuarina junghuhniana Miq. | CASUARINACEAE | ไม้ต้น |
ใบเล็กแหลมติดอยู่ตามข้อของกิ่งย่อย ดอกเพศผู้เป็นช่อแบบหางกระรอก เกิดตามปลายกิ่งย่อย ดอกเมียเป็นช่อกลมอยู่ใกล้กิ่งใหญ่ ผิวแข็งเรียงอัดกันเป็นก้อนกลม ๆ |
พื้นที่ศึกษาที่ 1 สนามฟุตบอล |
7–41230–001–017/4 | ราชพฤกษ์ คูน ลมแล้ง ชัยพฤกษ์ ( กลาง) ; คูน (กลาง เหนือ);กุเพยะ (กะเหรี่ยงกาญจนบุรี);ปือยู ปูโย เปอโซแมะหล่าหยู่ (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน);ลมแล้ง(ภาคเหนือ) | Cassia fistula L. | FABACEAE | ไม้ต้น | ดอกช่อกระจะสีเหลืองออกตามซอกใบ ช่อห้อยผลเป็นฝักกลมเรียวยาวผิวเกลี้ยงผลแก่สีน้ำตาลเมล็ดแบนรูปรีจำนวนมากมีผนังกั้นเป็นห้องๆ | พื้นที่ศึกษาที่ 1 สนามฟุตบอล |
7–41230–001–018/6 | พวงแสด (กรุงเทพฯ) | Pyrostegia venusta (Ker Gawl.) Miers | BIGNONIACEAE | ไม้เลื้อย | ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด ดอกรูปหลอด สีส้ม | พื้นที่ศึกษาที่ 1 สนามฟุตบอล |
7–41230–001–019/12 | ไทรกร่าง (กาญจนบุรี); ไทรย้อยใบทู่ (ทั่วไป); ไฮฮี (เพชรบูรณ์) | Ficus altissima Blume | MORACEAE | ไม้พุ่ม | ยอดอ่อนสีเขียวอบเหลือง แผ่นใบหนา ผลกลมสีเขียวเมือสุกมีสีแดงอมชมพู | พื้นที่ศึกษาที่ 1 สนามฟุตบอล |
7–41230–001–020/4 | อินทนิลน้ำ (ทั่วไป,ภาคใต้); ตะแบกดำ (กรุงเทพฯ);ฉ่องพนา (กระเหรี่ยงกาญจนบุรี) | Lagerstroemia spesiosa (L.) Pers. | LYTHRACEAE | ไม้ต้น | ดอกออกที่ปลายกิ่ง สีม่วงสด ดอกตูมรูปไข่กลับ ผลแห้งแตกเป็น 6 แฉก | พื้นที่ศึกษาที่ 1 สนามฟุตบอล |